เอนไซม์….ตัวช่วยแก้ปัญหาต้นทุนวัตถุดิบในอาหารที่พุ่งสูงอย่างต่อเนื่อง💥
☀️ในสภาวะเอลนีโญ ที่ส่งผลต่อปริมาณฝนที่น้อยลงของประเทศไทย ทำให้วัตถุดิบอาหารสัตว์มีข้อจำกัดในการนำมาทำสูตรอาหารมากขึ้น อาจมีผลต่อปริมาณเยื่อใยซึ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแม่หมูช่วงอุ้มท้องอาจเจอสภาวะที่มี NSP สูง ซึ่งป็นผลให้เกิดการย่อยยากเพิ่มขึ้น จึงต้องพึ่งการใช้เอนไซม์ที่จะปลดปล่อยพลังงานเพิ่มขึ้นได้ ✅
🪄บีไซม์ เอ็นเอสพี (Bezyme NSP)
🪄คอนเซนไซม์ เอ็นเอสพี ทู (Concenzyme NSP II)
เป็นเอนไซม์ที่มีความจำเพาะกับวัตถุดิบ ประกอบไปด้วย
✔️เอนไซม์เอ็นเอสพีเชิงซ้อน(Complex NSP enzyme)
✔️ไฟเตส (Phytase)
✔️กลูโคอะไมเลส (Gluco-amylase)
✔️อะซิดิกโปรตีเอส (Acidic protease)
💛โดยเอนไซม์ทำงานเสริมฤทธิ์กันในการย่อยวัตถุดิบอาหารสัตว์ มีประสิทธิภาพสูงทั้งในสุกรและสัตว์ปีก 💛
และเป็นเอมไซม์ที่มีเปอร์เซ็นต์การย่อยได้สูงที่สุดในท้องตลาด และยังมีผลการทดลองยืนยันในการเพิ่มความคุ้มค่าการลงทุน (ROI) และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตได้จริง 🎉
แนวทางการใช้เอนไซม์สามารถเลือกใช้ได้ 2 รูปแบบ คือ
1️⃣รูปแบบผสมในสูตรอาหาร (Matrix Value) เป็นแนวทางการใช้เพื่อลดวัตถุดิบอาหารสัตว์ในสูตรอาหาร
👉🏻โดยการใช้แบบ Full matrix จะสามารถลดการใช้ข้าวโพดได้ 8.77 กิโลกรัมต่อตัว หรือลดต้นทุนอาหาร 1.51 บาทต่อกิโลกรัมของสุกร
👉🏻หากฟาร์มมีสุกรขุน 20,000 ตัว จะสามารถลดต้นทุนได้ถึง 2,268,410 บาท🎉
2️⃣รูปแบบโรยบนอาหาร (Top on) เป็นแนวทางการใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสุกร การใช้ในรูปแบบนี้จะเพิ่ม ADG และลด FCR ได้
👉🏻สามารถเพิ่ม ADG ได้ 10 กรัมต่อตัวต่อวัน คิดเป็นการลดวันเลี้ยงได้ทั้งสิ้น 2 วัน ลดการใช้อาหารได้ 5 กิโลกรัมต่อตัว หรือคิดเป็นต้นทุนค่าอาหารลดลง 60 บาทต่อตัว
👉🏻หากฟาร์มมีสุกรขุน 20,000 ตัว จะสามารถลดต้นทุนได้ถึง 1,200,000 บาท🎉