Aqua success story EP. 21
เรื่อง “ เร่งโต เพิ่มตัน ดันกำไรในการเลี้ยงกุ้งขาว “
โดย คุณปรมินทร์ ฤทธิเดช (เต้)
ฝ่ายขายเขต สตูล สงขลา นครศรีธรรมราช ปัตตานี ทีม ASP AQUA
ปัญหาของการโตช้าจากการย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ในกุ้งขาวแวนนาไมเกิดจากหลายสาเหตุ
- การย่อยอาหารไม่สมบูรณ์เนื่องจากการผลิตปริมาณเอมไซม์เท่าเดิม แต่อาหารปัจจุบันเปลี่ยนแหล่งโปรตีนจากสัตว์มาเป็นโปรตีนจากพืชเพิ่มขึ้น
~ เกิดได้ทุกช่วงอายุ
~ ในช่วงระยะแรกกุ้งในบ่อที่ป่วยจะไม่แสดงอาการผิดปกติอย่างเด่นชัด
~ ไม่แสดงอาการ แต่ตัวเริ่มหลวม ร่องบนผิวน้ำ มีกล้ามเนื้อขาวขุ่น เปลือกบาง - การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศมีผลต่อคุณภาพน้ำในบ่อ ส่งผลให้กุ้งเครียด สร้างเอนไซม์ย่อยอาหารได้ลดลง
- ปัจจัยกระตุ้นความเครียดต่างๆ
เช่น ค่าของเสียในบ่อขึ้น แอมโมเนีย ไนไตรท์ ต่างๆ
หากไม่ได้รับการรักษาก็จะส่งผลกระทบต่อการโตกุ้งทุกระยะ
🛎🛎🛎 ดังนั้นไม่แปลกเลยที่การตรวจสอบการย่อยได้ของกุ้งภายในฟาร์มจึงมีความสำคัญต่อระบบการเลี้ยง
วันนี้ทางทีม ASP AQUA จะมีขั้นตอนการจัดการปัญหาของการโตช้าจากการย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ในกุ้งขาวแวนนาไม มาแนะนำให้กับเกษตรผู้เลี้ยงกุ้งขาวเพื่อเป็นแนวทางให้กับทุกท่านสามารถนำไปใช่ได้ง่ายและคาดหวังให้ทุกท่านเลี้ยงกุ้งประสบความสำเร็จ
ดังขั้นตอนต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 : ตรวจสุขภาพ….ส่องขี้
เก็บตัวอย่างกุ้งในบ่อ เพื่อนำประเมินสุขภาพ ขา เหงือก เปลือก หาง และลักษณะขี้ภายในลำไส้ส่วนปลายของกุ้ง
นำมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์เพื่อดูลักษณะ ประเมินปริมาณกากที่เหลือจากการย่อย เพื่อนำมาประเมินประสิทธิภาพการย่อยอาหารได้ของกุ้ง ว่ามีการย่อยเป็นอย่างไรบ้างในช่วงนี้
ขั้นที่ 2 : เสริมตัวช่วยย่อย
หากในตัวกุ้งสามารถผลิตเอมไซม์เพื่อย่อยอาหารได้แต่ไม่เพียงพอต่อการย่อยอาหาร
สามารถเสริมเอนไซม์เข้มข้นที่สามารถย่อยอาหารได้เลย ไม่ต้องหมัก ที่ชื่อว่า แอสมีโค( ASMECO )เป็นแหล่งเอนไซม์เข้มข้น ที่มีเอมไซม์โปรติเอสและเอนไซม์จำเป็นอื่นๆอยู่ในปริมาณมาก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยวัตถุดิบต่างๆที่อยู่ในอาหารและกุ้งสามารถดูดซึมสารอาหารได้มากขึ้น
🦐🦐🦐ตัวอย่างการทดสอบเพื่อดูประสิทธิภาพการโตของกุ้งเมื่อผสม Asmeco
เลือกบ่อที่จะทำการทดลอง
ผสม Asmeco อัตรา 10 กรัมต่ออาหาร 1 กก.ผสม
7 วัน เว้น 7 วัน
ดูประสิทธิภาพการโตและปริมาณอาหารที่กิน
นำผลที่ได้มาเปรียบเทียบ
🔑🔑🔑Key success story คือ
👉 กุ้งโตดี โตไว ทำให้เพิ่มกำไรและค่าใช้อื่นๆลดลง เช่น ค่าอาหารค่าไฟ จากวันเลี้ยงที่ลดลง
👉 อาหารจึงสูญเสียน้อยลง FCR ไม่บาน
ต้นทุนการเลี้ยงลดลงจากการย่อยที่ดีทำให้ประสิทธิภาพในการดูดซึมอาหารเพิ่มขึ้น
👉 เพิ่มรอบในการเลี้ยงได้ กำไรเพิ่มขึ้น
👉 ลดปัญหาการเกิดขี้ขาวที่เกิดจาการนำอาหารไปใช้ได้ไม่เต็มที่ เพื่อ ไม่ทำให้กุ้งโตสะดุด
เท่านี้ผู้เลี้ยงกุ้งสามารถเลี้ยงได้ตามเป้าหมายที่คาดหวังและกำไรที่ยั่งยืนต่อไปในการเลี้ยงกุ้งขาว
📌สามารถติดตามข่าวสารได้ที่
Line@ :@asp-aqua
คลิ๊ก https://lin.ee/yF83Pvx